ผู้เขียน หัวข้อ: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้  (อ่าน 12143 ครั้ง)

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #240 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2024, 16:19:53 pm »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #241 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2024, 16:20:07 pm »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #242 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 09:10:40 am »
**เลี้ยงปลากัด ปลาสวยงามที่เลี้ยงง่าย เลี้ยงสนุก**

ปลากัดเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน ด้วยความที่เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อสภาพอากาศ และมีความดุดัน ทำให้ปลากัดเป็นที่นิยมทั้งในกลุ่มผู้เลี้ยงปลาสวยงามและกลุ่มผู้เลี้ยงปลากัดเพื่อแข่งขัน

**วิธีการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

* **การเตรียมอุปกรณ์**

อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

    * โหลแก้วหรือตู้ปลา
    * หินกรวดหรือวัสดุรองพื้น
    * ปั๊มน้ำ
    * เครื่องกรองน้ำ
    * เครื่องปรับอุณหภูมิ (หากต้องการ)

* **การเตรียมน้ำ**

น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส ควรเปลี่ยนน้ำทุกสัปดาห์ หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน

* **การให้อาหาร**

ปลากัดเป็นปลากินเนื้อ ควรให้อาหารปลากัดเป็นอาหารสด เช่น ลูกน้ำ ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับปลากัด

* **การดูแลรักษา**

ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ หากพบอาการผิดปกติควรรีบรักษาทันที

**ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด**

ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

* **น้ำ** น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิที่เหมาะสม
* **อาหาร** ควรให้อาหารปลากัดอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
* **สภาพแวดล้อม** ควรวางโหลแก้วหรือตู้ปลาไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
* **โรคและศัตรูพืช** ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและศัตรูพืช

**ข้อดีของการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลาย**
* **เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสัตว์**
* **เป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างรายได้เสริม**

**สรุป**

การเลี้ยงปลากัดเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลากัดเพิ่มเติม เพื่อนำไปเลี้ยงปลากัดให้สวยงามและแข็งแรง
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #243 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 09:10:52 am »
**เลี้ยงปลากัด ปลาสวยงามที่เลี้ยงง่าย เลี้ยงสนุก**

ปลากัดเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน ด้วยความที่เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อสภาพอากาศ และมีความดุดัน ทำให้ปลากัดเป็นที่นิยมทั้งในกลุ่มผู้เลี้ยงปลาสวยงามและกลุ่มผู้เลี้ยงปลากัดเพื่อแข่งขัน

**วิธีการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

* **การเตรียมอุปกรณ์**

อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

    * โหลแก้วหรือตู้ปลา
    * หินกรวดหรือวัสดุรองพื้น
    * ปั๊มน้ำ
    * เครื่องกรองน้ำ
    * เครื่องปรับอุณหภูมิ (หากต้องการ)

* **การเตรียมน้ำ**

น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส ควรเปลี่ยนน้ำทุกสัปดาห์ หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน

* **การให้อาหาร**

ปลากัดเป็นปลากินเนื้อ ควรให้อาหารปลากัดเป็นอาหารสด เช่น ลูกน้ำ ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับปลากัด

* **การดูแลรักษา**

ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ หากพบอาการผิดปกติควรรีบรักษาทันที

**ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด**

ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

* **น้ำ** น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิที่เหมาะสม
* **อาหาร** ควรให้อาหารปลากัดอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
* **สภาพแวดล้อม** ควรวางโหลแก้วหรือตู้ปลาไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
* **โรคและศัตรูพืช** ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและศัตรูพืช

**ข้อดีของการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลาย**
* **เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสัตว์**
* **เป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างรายได้เสริม**

**สรุป**

การเลี้ยงปลากัดเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลากัดเพิ่มเติม เพื่อนำไปเลี้ยงปลากัดให้สวยงามและแข็งแรง
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #244 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 09:24:49 am »
**เลี้ยงแกะ อาชีพเสริม รายได้ดี**

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาชีพที่ลงทุนไม่มาก ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง เช่น เนื้อ แกะพันธุ์ขน และมูลแกะ เลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี

**การเตรียมการเลี้ยงแกะ**

ก่อนเลี้ยงแกะควรเตรียมการดังนี้

* **เลือกพื้นที่เลี้ยง** พื้นที่เลี้ยงควรมีแสงแดดส่องถึง มีอากาศถ่ายเทสะดวก และอยู่ห่างจากแหล่งชุมชน
* **สร้างคอกแกะ** คอกแกะควรมีขนาดใหญ่พอสำหรับจำนวนแกะที่จะเลี้ยง คอกควรมีหลังคาเพื่อป้องกันแดดและฝน มีประตูและหน้าต่างระบายอากาศ
* **เตรียมอุปกรณ์เลี้ยงแกะ** อุปกรณ์เลี้ยงแกะ ได้แก่ อาหารแกะ น้ำดื่มแกะ หญ้าแห้ง กรงเลี้ยงแกะ

**การดูแลรักษาแกะ**

การดูแลรักษาแกะสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารแกะ** ควรให้อาหารแกะอย่างสม่ำเสมอ อาหารแกะควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มแกะ** ควรให้น้ำดื่มแกะอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **ทำความสะอาดคอกแกะ** ควรทำความสะอาดคอกแกะอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสุขอนามัยที่ดีของแกะ
* **ป้องกันโรคแกะ** ควรหมั่นตรวจสุขภาพแกะอย่างสม่ำเสมอ และป้องกันโรคแกะตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

**เคล็ดลับการเลี้ยงแกะ**

* เลือกสายพันธุ์แกะที่เหมาะกับความต้องการของตนเอง
* เตรียมการเลี้ยงแกะให้พร้อมก่อนเลี้ยง
* ดูแลรักษาแกะอย่างสม่ำเสมอ

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาชีพที่ลงทุนไม่มาก ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง เพียงปฏิบัติตามขั้นตอนข้างต้นก็สามารถเลี้ยงแกะให้ประสบความสำเร็จ

**ข้อดีของการเลี้ยงแกะ**

* ลงทุนเริ่มต้นไม่สูง
* ดูแลไม่ยุ่งยาก
* สามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง
* ทนทานต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ
* ตลาดมีความต้องการสูง

**ข้อเสียของการเลี้ยงแกะ**

* ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก
* เสี่ยงต่อโรคระบาด

**ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตแกะ**

* ขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
* ขายปลีกให้กับผู้บริโภคโดยตรง
* แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เนื้อแกะสด เนื้อแกะแช่แข็ง แกะพันธุ์ขน ฯลฯ

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงแกะให้ประสบความสำเร็จ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #245 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 09:25:02 am »
**เลี้ยงแกะ อาชีพเสริม รายได้ดี**

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาชีพที่ลงทุนไม่มาก ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง เช่น เนื้อ แกะพันธุ์ขน และมูลแกะ เลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี

**การเตรียมการเลี้ยงแกะ**

ก่อนเลี้ยงแกะควรเตรียมการดังนี้

* **เลือกพื้นที่เลี้ยง** พื้นที่เลี้ยงควรมีแสงแดดส่องถึง มีอากาศถ่ายเทสะดวก และอยู่ห่างจากแหล่งชุมชน
* **สร้างคอกแกะ** คอกแกะควรมีขนาดใหญ่พอสำหรับจำนวนแกะที่จะเลี้ยง คอกควรมีหลังคาเพื่อป้องกันแดดและฝน มีประตูและหน้าต่างระบายอากาศ
* **เตรียมอุปกรณ์เลี้ยงแกะ** อุปกรณ์เลี้ยงแกะ ได้แก่ อาหารแกะ น้ำดื่มแกะ หญ้าแห้ง กรงเลี้ยงแกะ

**การดูแลรักษาแกะ**

การดูแลรักษาแกะสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารแกะ** ควรให้อาหารแกะอย่างสม่ำเสมอ อาหารแกะควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มแกะ** ควรให้น้ำดื่มแกะอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **ทำความสะอาดคอกแกะ** ควรทำความสะอาดคอกแกะอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสุขอนามัยที่ดีของแกะ
* **ป้องกันโรคแกะ** ควรหมั่นตรวจสุขภาพแกะอย่างสม่ำเสมอ และป้องกันโรคแกะตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

**เคล็ดลับการเลี้ยงแกะ**

* เลือกสายพันธุ์แกะที่เหมาะกับความต้องการของตนเอง
* เตรียมการเลี้ยงแกะให้พร้อมก่อนเลี้ยง
* ดูแลรักษาแกะอย่างสม่ำเสมอ

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาชีพที่ลงทุนไม่มาก ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง เพียงปฏิบัติตามขั้นตอนข้างต้นก็สามารถเลี้ยงแกะให้ประสบความสำเร็จ

**ข้อดีของการเลี้ยงแกะ**

* ลงทุนเริ่มต้นไม่สูง
* ดูแลไม่ยุ่งยาก
* สามารถให้ผลผลิตได้หลายอย่าง
* ทนทานต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ
* ตลาดมีความต้องการสูง

**ข้อเสียของการเลี้ยงแกะ**

* ต้องใช้แรงงานค่อนข้างมาก
* เสี่ยงต่อโรคระบาด

**ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตแกะ**

* ขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
* ขายปลีกให้กับผู้บริโภคโดยตรง
* แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เนื้อแกะสด เนื้อแกะแช่แข็ง แกะพันธุ์ขน ฯลฯ

การเลี้ยงแกะเป็นอาชีพเสริมที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงแกะให้ประสบความสำเร็จ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #246 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 14:32:09 pm »
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #247 เมื่อ: 18 มิถุนายน 2024, 14:32:22 pm »
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #248 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 09:18:43 am »

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา www.kwilife.com

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #249 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 09:19:12 am »

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา www.kwilife.com

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #250 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 09:33:29 am »


ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้กับที่ดินบางประเภท
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้มีการปรับลดอัตราการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2566 สำหรับที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางประเภท โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ได้รับการลดภาษีตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 ให้ลดภาษีในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่คำนวณได้ ตัวอย่างกรณีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่เคยได้รับการลดภาษี ได้แก่ โรงพยาบาล ร้านทำผม ร้านอาหาร ร้านล้างรถ และห้างสรรพสินค้า
2. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้รับการลดภาษี 50% ตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 เมื่อคำนวณลดภาษีในอัตรา 50% ของจำนวนภาษีที่จะต้องเสียแล้ว ให้ลดภาษีลงอีกในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่ลดไปแล้ว 50% ตัวอย่างกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 50% ได้แก่
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่เจ้าของเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เฉพาะทรัพย์สินที่บุคคลดังกล่าวได้มาทางมรดกและได้จดทะเบียนแล้วก่อนวันที่ 13 มีนาคม 2562
– ที่ดินที่ตั้งของโรงผลิตไฟฟ้า
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นเขื่อน
3. กรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 90% ตามพ.ร.ฎ.ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 แล้ว จะไม่ได้รับการลดภาษีเพิ่มอีก เนื่องจากมาตรา 55 แห่ง พร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 จะมีอัตราการลดภาษีสูงสุดอยู่ที่ 90% ได้แก่
– โรงเรียนในระบบ
– โรงเรียนนอกระบบ (ประเภทสอนศาสนา ตาดีกา ปอเนาะ)
– สวนสัตว์ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
– สวนสนุกที่มีเครื่องเล่นที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา ddproperty

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #251 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 09:33:43 am »


ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้กับที่ดินบางประเภท
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้มีการปรับลดอัตราการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2566 สำหรับที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางประเภท โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ได้รับการลดภาษีตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 ให้ลดภาษีในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่คำนวณได้ ตัวอย่างกรณีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่เคยได้รับการลดภาษี ได้แก่ โรงพยาบาล ร้านทำผม ร้านอาหาร ร้านล้างรถ และห้างสรรพสินค้า
2. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้รับการลดภาษี 50% ตามพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 เมื่อคำนวณลดภาษีในอัตรา 50% ของจำนวนภาษีที่จะต้องเสียแล้ว ให้ลดภาษีลงอีกในอัตรา 15% ของจำนวนภาษีที่ลดไปแล้ว 50% ตัวอย่างกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 50% ได้แก่
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่เจ้าของเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน เฉพาะทรัพย์สินที่บุคคลดังกล่าวได้มาทางมรดกและได้จดทะเบียนแล้วก่อนวันที่ 13 มีนาคม 2562
– ที่ดินที่ตั้งของโรงผลิตไฟฟ้า
– ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นเขื่อน
3. กรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ได้รับการลดภาษี 90% ตามพ.ร.ฎ.ลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2563 แล้ว จะไม่ได้รับการลดภาษีเพิ่มอีก เนื่องจากมาตรา 55 แห่ง พร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 จะมีอัตราการลดภาษีสูงสุดอยู่ที่ 90% ได้แก่
– โรงเรียนในระบบ
– โรงเรียนนอกระบบ (ประเภทสอนศาสนา ตาดีกา ปอเนาะ)
– สวนสัตว์ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
– สวนสนุกที่มีเครื่องเล่นที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา ddproperty

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #252 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 11:08:44 am »
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #253 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 11:09:15 am »
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 957
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกกล้วยในพื้นที่ว่างเปล่าสร้างผลผลิตและรายได้
« ตอบกลับ #254 เมื่อ: 19 มิถุนายน 2024, 11:30:22 am »
โฉนดที่ดิน “3 ข้อ เข้าใจง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายที่ดิน”


>โฉนดที่ดิน ถือเป็นสินทรัพย์ที่สร้างเสริมมูลค่าได้ตลอดเวลา ทำให้หลายๆคนเลือกที่จะซื้อ-ขายโฉนดที่ดินเพื่อเก็งกำไร แต่ก่อนที่เราจะซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน เราต้องรู้ก่อนว่าโฉนดที่ดินแบบใดซื้อ-ขายได้บ้าง และโฉนดมีกี่แบบ? แตกต่างกันอย่างไรบ้าง? เพื่อป้องกันข้อพิพาทหรือการฟ้องร้องกันในภายหลัง วันนี้เรารวบรวม 3 ข้อง่ายๆมาให้ทำความเข้าใจกันแล้ว…

โฉนดที่ดินมีกี่แบบ?



โฉนดที่ดินทั่วไปสามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ โฉนดที่ดิน (นส. 4) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3ก) หนังสือสิทธิรับรองการทำประโยชน์ (นส.3) และหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.4-01) ซึ่งแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันในลักษณะการถือครอง การใช้ประโยชน์ และการซื้อขาย ซึ่งจะแยกย่อยลงไปอีกและมีลักษณะแตกต่างกัน

โฉนดที่ดินแต่ละแบบต่างกันอย่างไร?


โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4
หนังสือที่ทางราชการหรือกรมที่ดินออกให้ตามประมวลกฎหมายเพื่อเป็นการแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้ที่เป็นเจ้าของ มีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน และมีหมุดแสดงพื้นที่ชัดเจน หากผู้ใดมีโฉนดไว้ในครอบครองก็ถือได้ว่ามีกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนนั้นอย่างสมบูรณ์

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เป็นหนังสือที่ทางราชการออกให้เพื่อรับรองว่าเจ้าของสามารถทำประโยชน์ในพื้นที่นั้นๆได้ โดยที่ดินจะมีระวางรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน โดยมีเงื่อนไขว่าผู้ครอบครองต้องทำให้ที่ดินนั้นเกิดประโยชน์ต่างจาก นส.4 ที่สามารถปล่อยพื้นที่ทิ้งว่างได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเอกสารที่แสดงสิทธิการครอบครองเพื่อทำประโยชน์ในพื้นที่ดินนั้นๆ เหมือนกันกับ นส. 3 ก แต่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ไม่มีการวัดพื้นที่โดยละเอียด ลักษณะเป็นรูปแผนที่ลอยๆ อาจะใช้การอ้างอิงวัตถุ หรือต้นไม้ในบริเวณนั้นๆเพื่อเขียนร่างแผนที่ ไม่มีการกำหนดตำแหน่งที่ดินแน่นอน หรือบางกรณีใช้ออกในพื้นที่ที่ไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศ ซึ่ง นส. 3 เป็นเอกสารที่นายอำเภอท้องที่เป็นผู้ออกให้ และนส. 3 ข เป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ที่ดินเป็นออกออกให้แต่ยังไม่ได้รับรองอย่างเป็นทางการ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01
เอกสารสิทธิ์ให้ประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน หรือเอกสารที่ออกให้เจ้าของมีสิทธิในการทำเกษตรกรรม และการจัดที่อยู่อาศัยเพื่อเกษตรกรรม เจ้าของมีเพียงสิทธิในการครอบครองเพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรเท่านั้น ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ใบจอง หรือ นส.2
หนังสือที่ทางราชการออกให้ประชาชนเพื่ออนุญาตให้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินเป็นการชั่วคราว ซึ่งผู้ที่มีใบจองต้องทำประโยชน์ในพื้นที่ดินมากกว่า 75% ของที่ดิน ภายใน 6 เดือนหลังได้รับใบจองและจะต้องทำประโยชน์แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 3 ปี

สิทธิทำกิน หรือ สทก.
หนังสือที่ราชการออกให้เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิทำกินในพื้นที่เขตป่าไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้จะเป็นผู้ออกให้ โดยผู้ถือสิทธิ์จะต้องทำประโยชน์ โดยกรมป่าไม้สามารถยึดคืนพื้นที่ดินได้ทันทีหากปล่อยรกร้างติดต่อกันเกิน 2 ปี

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5
ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ของผู้ที่อยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์ในพื้นที่มาแต่เดิม ไม่ใช่เอกสารสิทธิแสดงการครอบครองที่ดิน ที่ดินลักษณะนี้มักเป็นที่ดินมือเปล่า ที่ไม่มีเอกสารสิทธิใดๆทั้งสิ้น เป็นลักษณะของการอยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์สืบทอดกันมาเป็นรุ่นต่อรุ่น แต่จะไม่มีสิทธิในการครอบครองที่ดิน เจ้าของที่ดินตัวจริงคือ รัฐ

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5
หนังสือที่แสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือแสดงสิทธิ์ที่ดินและให้จดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรมในใบไต่สวนได้ ไม่ใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ แต่สามารถจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายที่ดิน และโอนให้กันได้ถ้าที่ดินมีใบไต่สวนและมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หรือเป็นการจดทะเบียนโอนมรดก

โฉนดที่ดินแบบใดสามารถซื้อ-ขายได้?
โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีแดง หรือ นส.4 :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนอง หรือค้ำประกันได้ทั้งหมด ทำให้นิยมซื้อขายมากที่สุด และมีมูลค่าด้านราคาสูงที่สุด ราคาของโฉนด นส.4 มีราคาสูงเมื่อเทียบกับเอกสารชนิดอื่นๆ โดยหากมีการซื้อขาย ผู้ซื้อ-ผู้ขายจะต้องไปทำการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ของสำนักงานที่ดินเท่านั้น มิฉะนั้นจะถือ เป็นโมฆะ

โฉนดที่ดินตราครุฑสีเขียว หรือ นส. 3 ก :
สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ โดยเมื่อมีการสอบเขตแล้ว เจ้าของสามารถนำหลักฐานไปขออกโนดได้ทันทีไม่ต้องรอรังวัดติดประกาศ 30 วัน

โฉนดที่ดินตราครุฑสีดำ หรือ นส. 3/นส. 3 ข :
สามารถซื้อ ขาย โอนได้ โดยการซื้อ-ขายจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดินเข้ามาทำการรังวัดและติดประกาศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถ้าไม่มีใครยื่นเรื่องขอคัดค้าน จึงจะสามารถทำเรื่องขอออกโฉนดได้

โฉนดที่ดินที่ซื้อ-ขายไม่ได้

โฉนดที่ดินตราครุฑสีน้ำเงินหรือสีแดง หรือ ส.ป.ก.4-01 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้ โดยทายาทจะต้องทำเกษตรกรรมเท่านั้น หรือให้เช่าเพื่อการเกษตรได้

ใบจอง หรือ นส.2 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

สิทธิทำกิน หรือ สทก. :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบชำระภาษีบำรุงท้องที่ หรือ ภ.บ.ท.5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

ใบไต่สวน หรือ น.ส. 5 :
ไม่สามารถซื้อ ขาย โอน จำนองได้ แต่สามารถใช้เป็นมรดกตกทอดได้

เป็นอย่างไรกันบ้างกับการทำความเข้าใจ 3 ข้อง่ายๆ ก่อนซื้อ-ขายโฉนดที่ดิน สำหรับใครที่ถือโฉนดที่ดินไว้อย่าลืมเช็คว่าตัวเองถือเอกสารลักษณะใด เพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เต็มที่ หรือใครที่กำลังจะมองหาซื้อที่ดินก็อย่าลืมเช็คกันนะว่าที่ดินนั้นสามารถซื้อ-ขายได้หรือไม่เพื่อให้เรามีกรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของโดยปราศจากข้อพิพาทอีกด้วย หลังซื้อแล้ว ควรทำรั้วให้ชัดเจนเพื่อแสดงอาณาเขตบุกรุกที่ดิน

 

ที่มา kasetphan

 

ลงประกาศฟรี ติด google ลงโฆษณา ขายของ ฟรี โพสต์ฟรี ลงประกาศฟรี ขายฟรี ขายบ้าน ขายที่ดิน ขายคอนโด ประกาศฟรี ขายฟรี ขายรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหารเสริม เครื่องสำอางค์ สถานที่ท่องเที่ยว เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ Google